Uncategorized

คอนกรีต 1 คิว เทพื้นที่ความหนา 10 ซม. และ 15 ซม. ได้กี่ตารางเมตร ??? นะ

คอนกรีต 1 คิว เทพื้นที่ความหนา 10 ซม. และ 15 ซม. ได้กี่ตารางเมตร ??? นะ◍ หากเคยได้ยินวิศวกร หรือช่างรับเหมา พูดถึงปริมาณคอนกรีตเป็นหน่วย “คิว” เช่น สั่งคอนกรีต 7 คิว แล้วคอนกรีต 1 คิวปริมาณเท่าไหร่นะ ??? เรามีหลักการคำนวณง่ายๆ ดังนี้◍ คอนกรีต 1 คิว ย่อมาจาก “Cubic meter” คือ ลูกบาศก์เมตร นั่นเอง จะเท่ากับปริมาตรคอนกรีต กว้าง 1 เมตร x ยาว 1 เมตร x หนา/สูง 1 เมตร ซึ่งหากลองตัดแบ่งพื้นหนา 10 ซม. จะตัดได้ทั้งหมด 10 แผ่น หรือ 10

3 คำที่ได้ยินบ่อยเวลาสั่งคอนกรีต

คิว เรียกย่อมาจาก คิวบิกเมตรภาษาอังกฤษ Cubic Meterหมายถึง ลูกบาศก์เมตร ซึ่งเป็นหน่วยนับปริมาตรคอนกรีตเวลาสั่งคอนกรีตก็จะสั่งเป็นคิว เช่น 5 คิว เป็นต้น สเตร็งท์หรือ Compressive Strengthคือค่าที่แสดงถึงความแข็งแรงของคอนกรีต์มีหน่วยวัดเป็น แรง (กิโลกรัม) / พื้นที่หน้าตัด (ตารางเซนติเมตร) หรือตัวย่อในภาษาอังกฤษคือ ksc ตัวเลขยิ่งมากหมายถึงค่าความแข็งแรงที่สูงขึ้นเวลาจะสั่งคอนกรีต ก็มักจะได้ยินคำว่าอยากได้ สเตร็งท์ เท่าไร ?เช่น 240 ksc (ทรงกระบอกหรือลูกบาศก์)การทดสอบหาค่ากำลังอัดคอนกรีตคือ การนำก้อนตัวอย่างคอนกรีตเข้าเครื่องกดกำลังอัดจนก้อนตัวอย่างคอนกรีตแตก  ​​ เค เอส ซี (KSC)ย่อมาจาก Kilogram-Force per Square Centimeterคือ หน่วยวัดความสามารถในการรับแรงอัดของคอนกรีต เช่นถ้าสั่งคอนกรีตสเตร็งท์ 240 ksc ก็จะหมายถึงคอนกรีต สามารถรับกำลังอัดได้240 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร